รายการ |
ปริมาณ / น้ำหนัก |
ปริมาณโซเดียม (มิลลิกรัม) |
ระดับความเสี่ยงต่อสุขภาพ |
ปลาเส้น |
24 กรัม (100 กรัม) |
600 (2,135) |
ปานกลาง-สูง |
ปลาหมึกปรุงรส |
100 กรัม |
1,747 |
สูง |
สาหร่ายปรุงรส |
12 กรัม (100 กรัม) |
210 (1,474.6) |
ต่ำ-ปานกลาง |
มันฝรั่งอบ,ทอดรสต่างๆ |
30 กรัม (100 กรัม) |
200 (602.9) |
ต่ำ-ปานกลาง |
ถั่วและนัท |
29 กรัม (100 กรัม) |
133 (449.3) |
ไม่มีความเสี่ยง-ต่ำ |
พายกรอบ |
32 กรัม |
250 |
ต่ำ |
ข้าวเกรียบกุ้งปรุงรสต่างๆ |
34 กรัม |
280 |
ต่ำ |
ข้าวเกรียบปลาหมึกปรุงรสต่างๆ |
30 กรัม |
200-298 |
ต่ำ |
ขนมข้าวหอมอบกรอบรสต่างๆ |
30 กรัม |
220-270 |
ต่ำ |
ขนมธัญพืชอบกรอบรสต่างๆ |
30 กรัม |
150-180 |
ไม่มีความเสี่ยง |
ข้าวเกรียบ ข้าวอบกรอบ |
32 กรัม (100 กรัม) |
229 (734.2) |
ต่ำ-ปานกลาง |
ข้าวโพดอบกรอบ รสต่างๆ |
26 กรัม (100 กรัม) |
156 (594.7) |
ไม่มีความเสี่ยง-ต่ำ |
ขนมปังขาไก่รสต่างๆ |
35 กรัม |
160-550 |
ไม่มีความเสี่ยง-ต่ำ |
หมายเหตุ
1. ปริมาณโซเดียม อ้างอิงจากรายงานวิจัยการสำรวจสถานการณ์การแสดงข้อมูลโภชนาการและปริมาณโซเดียมบนฉลากอาหารในผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูปที่พร้อมบริโภคทันที ปี พ.ศ. 2555-2558.(สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2559) เครือข่ายลดเค็ม ลดโรค (โครงการรณรงค์ลดการบริโภคโซเดียมในประเทศไทย ลดเค็ม ลดโรค (Less Salt), 2562) และตารางแสดงคุณค่าทางโภชนาการในอาหาร สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล (Kunchit Judprasong et al., 2015)
2. ระดับความเสี่ยงต่อสุขภาพ อ้างอิงการแบ่งระดับจากการศึกษาปริมาณโซเดียมและโซเดียมคลอไรด์ในอาหารบาทวิถี (Street foods) ที่จำหน่ายในเขตกรุงเทพมหานคร ประจำปี 2560 (ประเภทอาหารว่าง/ขนม) ดังนี้
ปริมาณโซเดียม น้อยกว่า 200 มิลลิกรัม หมายถึง ไม่มีความเสี่ยง
ปริมาณโซเดียม 200-600 มิลลิกรัม หมายถึง ต่ำ
ปริมาณโซเดียม 600-1,000 มิลลิกรัม หมายถึง ปานกลาง
ปริมาณโซเดียม มากกว่า 1,000 มิลลิกรัม หมายถึง สูง