รายการ |
ปริมาณ / น้ำหนัก |
ปริมาณโซเดียม (มิลลิกรัม) |
ระดับความเสี่ยงต่อสุขภาพ |
น้ำสลัดซอสญี่ปุ่น |
100 กรัม |
1,528 |
สูง |
น้ำสลัดครีม |
100 กรัม |
547 |
มีความเสี่ยง |
น้ำปลาพริก |
15 กรัม (1 ช้อนโต๊ะ) |
1,160-1,540 |
ปานกลาง-สูง |
น้ำจิ้มสุกี้ |
100 กรัม (1 ช้อนโต๊ะ) (6 ช้อนโต๊ะ) |
297 1,827 |
ไม่มีความเสี่ยง สูง |
น้ำจิ้มข้าวมันไก่ |
1 ช้อนโต๊ะ |
591 |
มีความเสี่ยง |
น้ำจิ้มซีฟู้ด | 1 ช้อนโต๊ะ | 575 |
มีความเสี่ยง |
น้ำจิ้มกุ้ยช่าย | 1 ช้อนโต๊ะ | 362 |
ไม่มีความเสี่ยง |
น้ำจิ้มแจ่ว | 1 ช้อนโต๊ะ | 297 |
ไม่มีความเสี่ยง |
น้ำจิ้มไก่ | 1 ช้อนโต๊ะ | 198 |
ไม่มีความเสี่ยง |
น้ำจิ้มหมูสะเต๊ะ | 1 ช้อนโต๊ะ | 72 |
ไม่มีความเสี่ยง |
ซอสพริก |
1 ช้อนโต๊ะ |
220 |
ไม่มีความเสี่ยง |
ซอสมะเขือเทศ |
1 ช้อนโต๊ะ |
140 |
ไม่มีความเสี่ยง |
น้ำพริกกะปิ |
100 กรัม (1 ถ้วย) |
2,250 |
สูงมาก |
น้ำพริกนรก น้ำพริกแมงดา |
100 กรัม (6 ช้อนโต๊ะ) |
2,375-2,688 |
สูงมาก |
น้ำปลาหวาน 1 ถ้วยใส่กุ้งแห้ง |
100 กรัม |
5,900 |
สูงมาก |
หมายเหตุ
1. ปริมาณโซเดียม อ้างอิงจากรายงานวิจัยการสำรวจสถานการณ์การแสดงข้อมูลโภชนาการและปริมาณโซเดียมบนฉลากอาหารในผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูปที่พร้อมบริโภคทันที ปี พ.ศ. 2555-2558.(สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2559) เครือข่ายลดเค็ม ลดโรค (โครงการรณรงค์ลดการบริโภคโซเดียมในประเทศไทย ลดเค็ม ลดโรค (Less Salt), 2562) และตารางแสดงคุณค่าทางโภชนาการในอาหาร สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล (Kunchit Judprasong et al., 2015)
2. ระดับความเสี่ยงต่อสุขภาพ อ้างอิงการแบ่งระดับจากการศึกษาปริมาณโซเดียมและโซเดียมคลอไรด์ในอาหารบาทวิถี (Street foods) ที่จำหน่ายในเขตกรุงเทพมหานคร ประจำปี 2560 (ประเภทอาหาร) ดังนี้
ปริมาณโซเดียม น้อยกว่า 600 มิลลิกรัม หมายถึง ไม่มีความเสี่ยง
ปริมาณโซเดียม 600-1,000 มิลลิกรัม หมายถึง น้อย
ปริมาณโซเดียม 1,000-1,500 มิลลิกรัม หมายถึง ปานกลาง
ปริมาณโซเดียม 1,500-2,000 มิลลิกรัม หมายถึง สูง
ปริมาณโซเดียม มากกว่า 2,000 มิลลิกรัม หมายถึง สูงมาก