อาหารตามสั่งปรุงสำเร็จ

รายการ

ปริมาณ / น้ำหนัก

ปริมาณโซเดียม (มิลลิกรัม)

ระดับความเสี่ยงต่อสุขภาพ

ข้าวไข่เจียวใส่เครื่อง 320 กรัมต่อจาน 900 น้อย
ข้าวไข่พะโล้ 320 กรัมต่อจาน 976 น้อย
ข้าวไข่ตุ๋น 318 กรัมต่อจาน 623 น้อย
ข้าวผัดหมูใส่ไข่ 324 กรัมต่อจาน 1,257 ปานกลาง
ข้าวน้ำพริกกะปิปลาทู 338 กรัมต่อจาน 1,122 ปานกลาง
ข้าวคลุกกะปิ 283 กรัมต่อจาน 1,412 ปานกลาง
ข้าวหน้าเป็ดย่าง 307 กรัมต่อจาน 1,213 ปานกลาง
ข้าวหมกไก่ 316 กรัมต่อจาน 1,018 ปานกลาง
ข้าวหมูแดง / ข้าวหมูทอด 320 กรัมต่อจาน 682 น้อย
ข้าวขาหมู 320 กรัมต่อจาน 1,205 ปานกลาง
ข้าวหน้าเนื้อ 307 กรัมต่อจาน 1,176 ปานกลาง
ข้าวมันไก่ต้ม /ไก่ทอด 283 กรัมต่อจาน 934 น้อย
ข้าวยำปักษ์ใต้ 230 กรัมต่อจาน 1,090 ปานกลาง
ข้าวผัดกระเพราหมู / ไก่ 265 กรัมต่อจาน 1,299 ปานกลาง
ข้าวราดแกงป่าปลาดุก 360 กรัมต่อจาน 1,829 สูง
ข้าวราดพะแนงไก่ 267 กรัมต่อจาน 641 น้อย
ข้าวราดต้มข่าไก่ 324 กรัมต่อจาน 988 น้อย
ข้าวราดผัดเปรี้ยวหวาน 322 กรัมต่อจาน 673 น้อย
ข้าวราดสะเดาน้ำปลาหวาน+ปลาดุกย่าง 308 กรัมต่อจาน 474 ไม่มีความเสี่ยง
ข้าวราดแกงส้มมะละกอ+ไข่เจียว 405 กรัมต่อจาน 822 น้อย
ข้าวราดน้ำพริกกะปิผักต้ม+ปลาทูทอด 338 กรัมต่อจาน 1,122 ปานกลาง
ข้าวราดต้มยำกุ้ง+หมูทอด 386 กรัมต่อจาน 865 น้อย
ข้าวราดแกงเลียง+หมูทอด 410 กรัมต่อจาน 685 น้อย
ข้าวราดแกงขี้เหล็กปลาย่าง 386 กรัมต่อจาน 799 น้อย
ข้าวราดน้ำพริกอ่อง+ผัก+ไข่ต้ม 500 กรัมต่อจาน 1,890 สูง
ข้าวราดผัดสะตอ 298 กรัมต่อจาน 682 น้อย
ข้าวต้มหมู,ปลา 344 กรัมต่อจาน 755-881 น้อย
โจ๊กหมู 485 กรัมต่อจาน 1,712 สูง
ต้มเลือดหมู 493 กรัมต่อจาน 2,265 สูงมาก
ก๋วยจั๊บ 346 กรัมต่อจาน 1,450 ปานกลาง
ก๋วยเตี๋ยว (น้ำ) 430 กรัมต่อจาน 1,596-2,500 สูง-สูงมาก
เส้นเล็กน้ำ ลูกชิ้นเนื้อวัว เนื้อสด เนื้อเปื่อย 470 กรัมต่อจาน 1,786 สูง
เส้นใหญ่น้ำหมู 436 กรัมต่อจาน 1,596 สูง
ก๋วยเตี๋ยว / บะหมี่ (แห้ง) 220 กรัมต่อจาน 675 น้อย
บะหมี่น้ำหมูแดง 420 กรัมต่อจาน 1,777 สูง
บะหมี่หมูต้มยำ 444 กรัมต่อจาน 2,392 สูงมาก
ก๋วยเตี๋ยวแห้งลูกชิ้นปลา 220 กรัมต่อจาน 1,107 ปานกลาง
ก๋วยเตี๋ยวเส้นใหญ่น้ำเย็นตาโฟ 450 กรัมต่อจาน 700 น้อย
ราดหน้า 400 กรัมต่อจาน 1,819 สูง
ผัดซีอิ๊ว 325 กรัมต่อจาน 1,242 ปานกลาง
ผัดไทย 286 กรัมต่อจาน 1,181 ปานกลาง
หอยทอด 252 กรัมต่อจาน 1,104 ปานกลาง
ผัดมักกะโรนี 325 กรัมต่อจาน 919 น้อย
สุกี้น้ำ 436 กรัมต่อจาน 1,560 สูง
กระเพาะปลา 448 กรัมต่อจาน 1,459 ปานกลาง
ขนมจีนน้ำยา 364 กรัมต่อจาน 1,700 สูง
ขนมจีนน้ำเงี้ยว 364 กรัมต่อจาน 1,128 ปานกลาง
ขนมจีนน้ำพริก 364 กรัมต่อจาน 655 น้อย
ขนมจีนน้ำยาปักษ์ใต้ 364 กรัมต่อจาน 1,259 ปานกลาง
ขนมจีนซาวน้ำ 364 กรัมต่อจาน 775 น้อย
แกงไตปลา 364 กรัมต่อจาน (1 ถุง) 3,000 สูงมาก
แกงเขียวหวาน 100 กรัมต่อจาน 665 น้อย
แกงโฮ๊ะ 100 กรัมต่อจาน 681 น้อย
แกงเลียง 100 กรัมต่อจาน 800 น้อย
แกงส้ม 100 กรัมต่อจาน 1,100 ปานกลาง
ต้มข่าไก่ 100 กรัมต่อจาน 464 ไม่มีความเสี่ยง
ต้มจืด 100 กรัมต่อจาน 1,250 ปานกลาง
ต้มจืดวุ้นเส้น 100 กรัมต่อจาน 397 ไม่มีความเสี่ยง
ต้มจืดมะระ 100 กรัมต่อจาน 427 ไม่มีความเสี่ยง
ต้มยำกุ้ง 100 กรัมต่อจาน 1,700 สูง
ต้มยำปลากระป๋อง 100 กรัมต่อจาน 3,000 สูงมาก
ต้มไข่พะโล้ 100 กรัมต่อจาน 1,400 ปานกลาง
ผัดผัก 100 กรัมต่อจาน 1,200 ปานกลาง
ผัดผักกาดดองใส่ไข่ 250 กรัมต่อจาน 1,600 สูง
หน่อไม้ผัดพริก 100 กรัมต่อจาน 560 ไม่มีความเสี่ยง
ผัดพริกขิงถั่วฝักยาว 100 กรัมต่อจาน 638 น้อย
ปลาทอดราดพริก 100 กรัมต่อจาน 773 น้อย
ยำรวมมิตร 265 กรัมต่อจาน 1,651 สูง
ลาบหมู 239 กรัมต่อจาน 1,541 สูง
น้ำตกหมู 193 กรัมต่อจาน 1,408 ปานกลาง
ส้มตำไทย 100 กรัมต่อจาน 627 น้อย
ส้มตำปู 100 กรัมต่อจาน 2,000 สูงมาก
ส้มตำปูปลาร้า 100 กรัมต่อจาน 2,916 สูงมาก
ไก่ย่าง 100 กรัมต่อจาน 546 ไม่มีความเสี่ยง
หมูปิ้ง 128 กรัมต่อจาน (3 ไม้) 885 น้อย
คอหมูย่าง 248 กรัมต่อจาน 1,560 สูง
ปลาหมึกย่าง 141 กรัม (1 ไม้) 802 น้อย
ทอดมันปลากราย 172 กรัมต่อจาน 1,155 ปานกลาง
ไก่ทอด 138 กรัมต่อจาน (1 ชิ้น) 1,132 ปานกลาง
หมูทอดกระเทียมพริกไทย 100 กรัมต่อจาน 894 น้อย
ปลาทอด 100 กรัมต่อจาน 827 น้อย
แคปหมู 100 กรัม 1,439 ปานกลาง
ข้าวเหนียว ลาบหมู ผัก 284 กรัมต่อจาน 389 ไม่มีความเสี่ยง
ข้าวเหนียว น้ำตกเนื้อ ผัก 257 กรัมต่อจาน 460 ไม่มีความเสี่ยง
ไข่ต้ม 1 ฟอง 90 ไม่มีความเสี่ยง

หมายเหตุ

1. ปริมาณโซเดียม อ้างอิงจากรายงานวิจัยการสำรวจสถานการณ์การแสดงข้อมูลโภชนาการและปริมาณโซเดียมบนฉลากอาหารในผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูปที่พร้อมบริโภคทันที ปี พ.ศ. 2555-2558.(สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2559) เครือข่ายลดเค็ม ลดโรค (โครงการรณรงค์ลดการบริโภคโซเดียมในประเทศไทย ลดเค็ม ลดโรค (Less Salt), 2562) และตารางแสดงคุณค่าทางโภชนาการในอาหาร สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล (Kunchit Judprasong et al., 2015)

2. ระดับความเสี่ยงต่อสุขภาพ อ้างอิงการแบ่งระดับจากการศึกษาปริมาณโซเดียมและโซเดียมคลอไรด์ในอาหารบาทวิถี (Street foods) ที่จำหน่ายในเขตกรุงเทพมหานคร ประจำปี 2560 (ประเภทอาหาร) ดังนี้

ปริมาณโซเดียม น้อยกว่า 600 มิลลิกรัม หมายถึง ไม่มีความเสี่ยง

ปริมาณโซเดียม 600-1,000 มิลลิกรัม หมายถึง น้อย

ปริมาณโซเดียม 1,000-1,500 มิลลิกรัม หมายถึง ปานกลาง

ปริมาณโซเดียม 1,500-2,000 มิลลิกรัม หมายถึง สูง

ปริมาณโซเดียม มากกว่า 2,000 มิลลิกรัม หมายถึง สูงมาก