รายการ |
ปริมาณ / น้ำหนัก |
ปริมาณโซเดียม (มิลลิกรัม) |
ระดับความเสี่ยงต่อสุขภาพ |
ข้าว |
1 ทัพพี |
20 |
ไม่มีความเสี่ยง |
เนื้อหมู เนื้อไก่ เนื้อปลา |
2 ช้อนโต๊ะ |
25 |
ไม่มีความเสี่ยง |
ผักสด |
1 ถ้วยตวง |
10-15 |
ไม่มีความเสี่ยง |
ผลไม้สด |
6-8 ชิ้นคำ |
2-10 |
ไม่มีความเสี่ยง |
น้ำมันพืช |
1 ช้อนชา |
0 |
ไม่มีความเสี่ยง |
ไข่ |
1 ฟอง |
90 |
ไม่มีความเสี่ยง |
ปูทะเล |
100 กรัม |
331 |
ไม่มีความเสี่ยง |
กุ้งกุลาดำ |
100 กรัม |
691 |
น้อย |
หอยแครง |
100 กรัม |
386 |
ไม่มีความเสี่ยง |
ปลาซาบะ |
100 กรัม |
673 |
น้อย |
หมายเหตุ
1. ปริมาณโซเดียม อ้างอิงจากรายงานวิจัยการสำรวจสถานการณ์การแสดงข้อมูลโภชนาการและปริมาณโซเดียมบนฉลากอาหารในผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูปที่พร้อมบริโภคทันที ปี พ.ศ. 2555-2558.(สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2559) เครือข่ายลดเค็ม ลดโรค (โครงการรณรงค์ลดการบริโภคโซเดียมในประเทศไทย ลดเค็ม ลดโรค (Less Salt), 2562) และตารางแสดงคุณค่าทางโภชนาการในอาหาร สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล (Kunchit Judprasong et al., 2015)
2. ระดับความเสี่ยงต่อสุขภาพ อ้างอิงการแบ่งระดับจากการศึกษาปริมาณโซเดียมและโซเดียมคลอไรด์ในอาหารบาทวิถี (Street foods) ที่จำหน่ายในเขตกรุงเทพมหานคร ประจำปี 2560 (ประเภทอาหาร) ดังนี้
ปริมาณโซเดียม น้อยกว่า 600 มิลลิกรัม หมายถึง ไม่มีความเสี่ยง
ปริมาณโซเดียม 600-1,000 มิลลิกรัม หมายถึง น้อย
ปริมาณโซเดียม 1,000-1,500 มิลลิกรัม หมายถึง ปานกลาง
ปริมาณโซเดียม 1,500-2,000 มิลลิกรัม หมายถึง สูง
ปริมาณโซเดียม มากกว่า 2,000 มิลลิกรัม หมายถึง สูงมาก