อาหารกึ่งสำเร็จรูป / อาหารกระป๋อง

รายการ

ปริมาณ / น้ำหนัก

ปริมาณโซเดียม (มิลลิกรัม)

ระดับความเสี่ยงต่อสุขภาพ

โจ๊กกึ่งสำเร็จรูป แบบซอง

37 กรัม (100 กรัม)

976 (2,649.8)

ปานกลาง-สูงมาก

โจ๊กกึ่งสำเร็จรูปรสหมู แบบถ้วย 35 กรัม (1 ถ้วย) 660

น้อย

วุ้นเส้นกึ่งสำเร็จรูป พร้อมเครื่องปรุงรสต่างๆ

57 กรัม (100 กรัม)

1,501 (3,022)

สูง-สูงมาก

ซุปกึ่งสำเร็จรูป

8 กรัม (100 กรัม)

611 (7,429.2)

น้อย-สูงมาก

บะหมี่กึ่งสำเร็จรูปรสหมูสับ แบบซอง

60 กรัม

1,490-1,990

ปานกลาง-สูง

บะหมี่กึ่งสำเร็จรูปรสต้มยำกุ้ง พร้อมเครื่องปรุง แบบถ้วย

55 กรัม

1,860

สูง

บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ไม่รวมเครื่องปรุง

55 กรัม

1,296

ปานกลาง

ก๋วยเตี๋ยวเส้นเล็กอบแห้งพร้อมเครื่องปรุงรสต่างๆ แบบซอง

50 กรัม

1,530

สูง

เส้นหมี่กึ่งสำเร็จรูปพร้อมเครื่องปรุงรสต่างๆ แบบซอง

55 กรัม

1,530

สูง

อาหารเช้าธัญพืช (ซีเรียล)

32 กรัม (100 กรัม)

73 (231.2)

ไม่มีความเสี่ยง

แกง/กับข้าวบรรจุกระป๋อง

100 กรัม

404-890

ไม่มีความเสี่ยง-น้อย

ปลากระป๋อง

1 กระป๋อง (85 กรัม)

340-600

ไม่มีความเสี่ยง-น้อย

น้ำพริกทูน่า

105 กรัม

1,230

ปานกลาง

ผักกาดดอง

1 กระป๋อง

1,720

สูง

หมายเหตุ

1. ปริมาณโซเดียม อ้างอิงจากรายงานวิจัยการสำรวจสถานการณ์การแสดงข้อมูลโภชนาการและปริมาณโซเดียมบนฉลากอาหารในผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูปที่พร้อมบริโภคทันที ปี พ.ศ. 2555-2558.(สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2559) เครือข่ายลดเค็ม ลดโรค (โครงการรณรงค์ลดการบริโภคโซเดียมในประเทศไทย ลดเค็ม ลดโรค (Less Salt), 2562) และตารางแสดงคุณค่าทางโภชนาการในอาหาร สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล (Kunchit Judprasong et al., 2015)

2. ระดับความเสี่ยงต่อสุขภาพ อ้างอิงการแบ่งระดับจากการศึกษาปริมาณโซเดียมและโซเดียมคลอไรด์ในอาหารบาทวิถี (Street foods) ที่จำหน่ายในเขตกรุงเทพมหานคร ประจำปี 2560 (ประเภทอาหาร) ดังนี้

ปริมาณโซเดียม น้อยกว่า 600 มิลลิกรัม หมายถึง ไม่มีความเสี่ยง

ปริมาณโซเดียม 600-1,000 มิลลิกรัม หมายถึง น้อย

ปริมาณโซเดียม 1,000-1,500 มิลลิกรัม หมายถึง ปานกลาง

ปริมาณโซเดียม 1,500-2,000 มิลลิกรัม หมายถึง สูง

ปริมาณโซเดียม มากกว่า 2,000 มิลลิกรัม หมายถึง สูงมาก